กฟผ.แม่เมาะ แจง เหตุสารเคมีรั่วไหล จนต้องอพยพพนักงาน ยัน ไม่ใช่ 'สารไซยาไนด์' แต่เป็น 'กรดไฮโดรคลอริก' มีกลิ่นฉุน ล่าสุด สามารถเข้าทำงานปกติได้แล้ว ไร้คนเจ็บหรือเป็นอันตราย เมื่อเวลา 14.00 น. วันที่ 6 พ.ค.61 นายประทีป พันธ์ยก หมวดความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน มปอ.-หม. กฟผ.แม่เมา อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง นำผู้สื่อข่าวลงพื้นที่จุดที่เกิดสารเคมีรั่วไหล ที่บริเวณพื้นที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้าทดแทน 4-7
กรดไฮโดรคลอริก
กรดเกลือ หรือเรียกอีกชื่อ กรดไฮโดรคลอริก (HCl) เป็นกรดที่มีใช้กันมากในอุตสาหกรรม มีสถานะเป็นของเหลวที่มีค่าความเข้มข้นต่างๆ เช่น กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น และกรดไฮโดรคลอริก 35% และ 37% จัดเป็นกรดแก่ ใช้มากในการผลิตคลอไรด์ อุตสาหกรรมสี ชุบโลหะ ใช้ถลุงแร่เพื่อผลิต ดีบุก และแทนทาลัม, ใช้ในการปรับความเป็นกรด-ด่าง โดยเฉพาะสารที่เป็นด่างให้มีความเป็นกรด ใช้ Hydrolized แป้ง และโปรตีน เพื่อผลิตอาหารรูปแบบต่าง ๆ ใช้กัดผิว และทำความสะอาดผิวโลหะใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมอื่น ๆ
ลักษณะเฉพาะ
กรดเกลือหรือกรดไฮโดรคลอริก ถูกค้นพบครั้งแรกด้วยนักเล่นแร่แปลธาตุชื่อ จารเบียร์ เฮย์ยัน มีลักษณะจำเพาะ ดังนี้
1. เป็นของเหลวไม่มีสีหรือมีสีใสออกเหลือง มีไอระเหย มีกลิ่นฉุน ไม่เป็นสารไวไฟ
2. ระเหยเป็นไอได้รวดเร็ว ไอเป็นกรดมีพิษต่อระบบทางเดินหายใจ
3. เป็นกรดแก่
4. มีมวล 36.46 กรัม/โมล
5. ความหนาแน่น 1.18 กรัม/ลบ.ซม.
6. จุดหลอมเหลว -27.32 องศาเซลเซียส
7. จุดเดือด 110 องศาเซลเซียส
กรดเกลือหรือกรดไฮโดรคลอริก ถูกค้นพบครั้งแรกด้วยนักเล่นแร่แปลธาตุชื่อ จารเบียร์ เฮย์ยัน มีลักษณะจำเพาะ ดังนี้
1. เป็นของเหลวไม่มีสีหรือมีสีใสออกเหลือง มีไอระเหย มีกลิ่นฉุน ไม่เป็นสารไวไฟ
2. ระเหยเป็นไอได้รวดเร็ว ไอเป็นกรดมีพิษต่อระบบทางเดินหายใจ
3. เป็นกรดแก่
4. มีมวล 36.46 กรัม/โมล
5. ความหนาแน่น 1.18 กรัม/ลบ.ซม.
6. จุดหลอมเหลว -27.32 องศาเซลเซียส
7. จุดเดือด 110 องศาเซลเซียส
ประโยชน์ และการนำไปใช้
– ใช้เป็นสารฟอกหนัง ฟอกสี
– ใช้สำหรับปรับสภาพความเป็นด่างของน้ำให้เป็นกรด ใช้มากในระบบบำบัดน้ำเสีย
– ใช้ในอุตสาหกรรมชุบเคลือบโลหะ
– ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร
– ใช้เป็นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมผลิตสี และผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้ตัวทำละลายกรด
– ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดโลหะ
– ใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี กระบวนการเตรียมสารประกอบอินทรีย์ เช่น ไวนิลคลอไรด์โมโนเมอร์ เป็นต้น
– ใช้ในกระบวนการฆ่าเชื้อในระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำหรือระบบบำบัดน้ำเสีย หรือใช้ฆ่าเชื้อได้โดยตรง
– ใช้เป็นสารฟอกหนัง ฟอกสี
– ใช้สำหรับปรับสภาพความเป็นด่างของน้ำให้เป็นกรด ใช้มากในระบบบำบัดน้ำเสีย
– ใช้ในอุตสาหกรรมชุบเคลือบโลหะ
– ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร
– ใช้เป็นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมผลิตสี และผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้ตัวทำละลายกรด
– ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดโลหะ
– ใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี กระบวนการเตรียมสารประกอบอินทรีย์ เช่น ไวนิลคลอไรด์โมโนเมอร์ เป็นต้น
– ใช้ในกระบวนการฆ่าเชื้อในระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำหรือระบบบำบัดน้ำเสีย หรือใช้ฆ่าเชื้อได้โดยตรง
ที่มา:https://www.thairath.co.th/content/1274604,http://www.siamchemi.com/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น